暮らしに気づきの実践 プラユキ・ナラテボー滋賀気づきの瞑想会が、11月28日、29日に滋賀県多賀町の森林 高取山公園で開催され、深くてやさしく、無事に終えることができました。
とても感謝しています。 参加者は、総勢24名で、宿泊は13名、両日の日帰参加者は11名で、中にはプラユキ先生にタンブン(お布施)だけに来られたタイ人もおられました。
瞑想会では、誰でもが苦しみから自由になり、幸せに生きるための法則と実践の教えであるブッダの教えをプラユキ先生から学び、瞑想をすることにより暮らしの中で何が変わるのか、集中する瞑想ではなく、気づきの瞑想がなぜ、大切なのかについて、参加者同士のディスカッションなどを通して、深めることができたと思います。
まさしく、善友の会合でした。「今ここ」に焦点をあてて、自分の心を見つめていくことで、自分の心のからくりやクセが観えてきます。
「今 ここ」に心を開いて、現実を生きることができます。
初日の夜には、仏教を社会システムに活かすエンゲージド・ブディズムをダイナミックに伝えるDVD、「スラックとプラチャーの音もなく慈愛は世界にみちて with 辻 信一」の鑑賞会、参加者一人ひとりが、今の苦しみは何?、その苦しみをなくすためにやっていることは何?、その結果はどうなっているの?などを話題提供していただいて、みんなで考え、深めていくこととしました。
そのディスカッションで出された苦しみは、やはり、人間関係での苦しみが大半でした。
今ここ瞑想をとにかく続けることで、その苦しみの時間短縮、苦しみの大きさを小さくなったりとか瞑想による成果についての報告も出るなどとても有意義な時間を共有できたと思います。
昨年に続き、2回目となる滋賀での瞑想会ですが、来年の瞑想会を企画するにあたり、とにかく、一人ひとりが瞑想を実践することで、日常の暮らしの中でどのような変化がでてきたのか、あるいは瞑想がどうしても続かないなど、良い点、悪い点も含めて、滋賀での 瞑想会では、その情報交換により参加者全員が高まっていくことをめざしていきたいことを確認し、各自に宿題を持って帰っていただきました。
できれば、Fb上でグループをつくり、瞑想実践の情報交換なんかもできればいいなぁと思っています。
今回の瞑想会は、参加費とはせずに、お布施という形をとりました。日本人やタイ人から当日の参加されない方からもお布施をいただきました。とてもありがたいことです。とても尊いことだと思います。
滋賀瞑想会では、これからもブッダが説いたこのお布施の意味についても同時に学んでいきたいと思っています。そんなお布施のおかげで、とても素敵なよき縁をいただくことができました。重ねて感謝いたします。
みなさん、来年の瞑想会に是非、ご参加くださいね(^o^)v
วันที่ 28-29 พฤศจิกายนที่ผ่านมา การเจริญสติปฏิบัติธรรม เพื่อนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน ที่จังหวัด Shiga ประเทศญี่ปุ่น สอนโดย พระอาจารย์ยูกิ นรเทโว วัดป่าสุคะโต จังหวัดชัยภูมิผ่านพ้นไปด้วยดี ทางผู้จัดขอขอบพระคุณทุกท่านมา ณ ที่นี้ นะคะ มีผู้เข้าร่วมทั้งหมด 24 คน ในจำนวนนี้ พักค้างคืนปฏิบัติ13 คน และไปกลับ 11 คน มีคนไทยซึ่งมาทำบุญกับพระอาจารย์ยูกิ อย่างเดียว แต่ไม่ได้อยู่ร่วมปฏิบัติ เนื่องจากติดภาระที่บ้าน รวมอยู่ด้วย
การเจริญสตินั้น เป็นการเรียนรู้และปฏิบัติเรื่องการมีชีวิตอยู่อย่างมีความสุข เป็นอิสระ หลุดพ้นจากทุกข์ ตามคำสอนของพระศาสดา ผู้เข้าร่วมปฏิบัติธรรมได้ร่วมพูดคุยเรื่อง หลังจากเจริญสติแล้วชีวิตเปลี่ยนไปอย่างไร ทำไมการเจริญสติแบบวิปัสนา ไม่ใช่แบบสมถะนั้น มีความสำคัญ เพราะการมีสติอยู่ใน "ปัจจุบัน" นั้นทำให้เราเห็นลักษณะการทำงานของจิตเราเอง ซึ่งทำให้เรา"ตื่น"ขึ้นมาได้จากโลกแห่งความคิด
คืนวันที่ 28 ผู้เข้าร่วมได้ดู DVD เกี่ยวกับ "Engaged Buddhism" หรือ "พุทธศาสนาเพื่อสังคม" ซึ่งเป็นบทสัมภาษณ์ อาจารย์สุลักษณ์ ศิวรักษ์ และ คุณประชา หุตานุวัตร โดย อาจารย์ ชินอิจิ ทซึจิ ซึ่งแสดงให้เห็นว่า พุทธศาสนานำมาใช้กับสังคมได้ด้วย ไม่ใช่แค่บุคคลเท่านั้น
หลังจากนั้น ผู้เข้าร่วมแต่ละคนได้พูดคุยกันเรื่องสิ่งที่ตนเองกำลังทุกข์ใจ วิธีแก้ปัญหาและผลของการแก้ปัญหา เรื่องทุกข์ใจส่วนใหญ่ คือปัญหาความสัมพันธ์กับผู้อื่น การเจริญสติจะทำให้คนปฏิบัติมีทุกข์น้อยลงและเวลาที่ทุกข์สั้นลง
การปฏิธรรมธรรมเจริญสติที่ Shiga จัดเป็นปีที่ 2 ซึ่งผู้เข้าร่วมได้นำการบ้านกลับไปปฏิบัติต่อและจะนำมาส่งปีหน้าว่าผลการปฏิบัติเป็นอย่างไร มีข้อดีข้อเสียอย่างไร นอกจากนั้นจะสร้างเพจ หรือ กลุ่ม เพื่อแลกเปลี่ยนผลปฏิบัติและข้อมูลต่างๆอีกด้วย
การปฏิบัติธรรมคราวนี้ ไม่ได้กำหนดค่าร่วมงาน แต่รับบริจาคทำบุญจากคนไทยและคนญี่ปุ่น ทั้งผู้ที่มาร่วมปฏิบัติ และผู้ที่ไม่ได้เข้าร่วม แต่มีจิตศรัทธา ซึ่งวัฒนธรรมการทำบุญ บริจาค ไม่ค่อยมีในญี่ปุ่น ทำให้คนญี่ปุ่นเข้าใจยาก ซึ่งผู้จัดคิดว่า คราวหน้าจำเป็นจะต้องอธิบายและทำความเข้าใจ เรื่อง"ทาน" กันมากกว่านี้
ขอขอบคุณผู้ที่ร่วมบริจาคทำบุญทั้งที่มาร่วมปฏิบัติและไม่ได้เข้าร่วม ทั้งคนไทยและคนญี่ปุ่นมา ณ ที่นี้นะคะ
ขอเชิญทุกท่านมาร่วมปฏิบัติและร่วมทำบุญกันอีกในปีหน้านะคะ
0 件のコメント:
コメントを投稿